มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - สังคหวัตถุธรรม
ท่านหัตถกะทูลตอบว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ ได้สงเคราะห์เพื่อนๆ และบริวารมากมายด้วยสังคหวัตถุ ๔ คือ ถ้ารู้ว่าผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการให้ทาน ข้าพระองค์จะสงเคราะห์ ด้วยการให้ทาน ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยวาจาที่อ่อนหวาน ข้าพระองค์จะสงเคราะห์ด้วยวาจาที่อ่อนหวาน ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ ข้าพระองค์สงเคราะห์ด้วยการประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการวางตัวให้เหมาะสม ข้าพระองค์ก็จะสงเคราะห์ด้วยการวางตัวให้เหมาะสม พระเจ้าข้า
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
ทิพยสถานสำหรับผู้มีบุญ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเกิดในสวรรค์ เหมือนถูกเชิญมาเกิด ธรรม ๔ ประการคือ เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล ย่อมบังเกิดในสวรรค์เหมือนถูกเชิญมาเกิด
ภูมิของพระโสดาบัน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า ธรรม ๔ ประการคือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ประกอบด้วยศีลที่พระอริยเจ้าใคร่แล้ว อริยสาวกผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเหล่านี้แล เป็นพระโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ที่จะตรัสรู้ในเบื้องหน้า
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิบุคคล ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
แสนโกฏิจักรวาล
หมู่สัตว์ ๑ อากาศ ๑ จักรวาลไม่มีที่สุด ๑ และพระพุทธญาณอันหาประมาณมิได้ ๑ ทั้ง ๔ อย่างนี้ ใครๆ ไม่อาจรู้ได้
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๔)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การถือประมาณบุญแห่งทักษิณาทานที่ประกอบด้วยองค์ ๖ ประการอย่างนี้ว่า ห้วงแห่งบุญกุศลมีประมาณเท่านี้ นำสุขมาให้ มีอารมณ์เลิศ มีสุขเป็นผล เป็นไปเพื่อสวรรค์ ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข ไม่ใช่ทำได้ง่าย โดยที่แท้ บุญแห่งทักษิณาทานนั้น ย่อมถึงการนับว่า เป็นห้วงแห่งบุญกุศลที่จะนับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ เป็นกองบุญใหญ่
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ตั้งเป้าหมายชีวิตเพื่อพิชิตพระนิพพาน
พระพุทธองค์ทรงชี้ทางรั่วไหลออกของทรัพย์ว่า โภคทรัพย์ที่เกิดโดยชอบนี้ มีทางเสื่อม ๔ ประการ คือ เที่ยวผู้หญิง ดื่มสุรา เล่นการพนันและคบมิตรชั่ว เหมือนสระ น้ำใหญ่ มีทางไหลเข้า ๔ ทาง ทางไหลออก ๔ ทาง จึงจำเป็นต้องเปิดทางไหลเข้า ปิดทางไหลออกของสระ ด้วยการไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขทุกชนิด